หลักสูตร การดำเนินกิจกรรม Six-Sigma ในองค์กร ( 1 วัน)

บทนำ

Sigma (s) คือ:
– อักษรกรีกตัวที่ 18
– เป็นสัญลักษณ์ของการเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
– เป็นการวัดความผันแปรของข้อมูล
– ค่าซิกม่ายิ่งสูงแสดงว่ามีความแปรปรวนของกระบวนการสูง ทำให้มีพื้นที่ที่อยู่นอกเหนือพื้นที่ในการยอมรับหรือในสเปคน้อยลง นั่นคือมีของเสียที่อยู่นอกเหนือขอบเขตที่ยอมรับได้น้อยลง
Six Sigma เป็นเครื่องมือและแนวคิดในการปรับปรุงคุณภาพในองค์กรเพื่อลดความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในกระบวนการต่างๆ ให้เหลือน้อยที่สุดโดยใช้หลักการทางสถิติ และมุ่นเน้นลูกค้าเป็นหัวใจสำคัญในการแก้ไขปัญหาเพื่อการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการรวมทั้งลดผลกระทบและค่าใช้จ่าย โดยชื่อของ Six Sigma นั้นได้มาจากแนวความคิดที่ว่าโอกาสที่เกิดขึ้น 3.4 ครั้งต่อการผลิตหรือการปฏิบัติงาน 1 ล้าน ระดับสมรรถนะขององค์กรโดยส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 2 Sigma หรือ 3 Sigma
การดำเนินกิจกรรมในองค์กรจะมีผู้เกี่ยวข้องอยู่หลายส่วนซึ่งสามารถอธิบายสรุปได้คร่าวๆดังนี้

ซึ่งขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรม Six Sigma จะมีหลักๆ 5 ขั้นตอนดังนี้
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจและมีทักษะการดำเนินงานตามหลักการ Six sigma

กลุ่มเป้าหมาย : วิศวกร และหัวหน้างาน
จำนวนผู้เข้าอบรม : 30 คน/รุ่น

กำหนดการอบรม 1 วัน 09.00-16.30

หัวข้อสัมมนา
บทนำ
– Six Sigma (6s) คืออะไร
– จุดหมายของการทำ Six Sigma
– ประวัติความเป็นมาของ Six Sigma
– Six Sigma ใช้ได้กับหน่วยงานใดในองค์กร
– การกำหนดโครงสร้างทีมงาน six sigma และบทบาทหน้าที่
– การเลือกโครงการ 6-Sigma
– ขั้นตอนการทำ Six Sigma – DMAIC
D-Define
– การรับทราบถึงปัญหาและความเชื่อมโยง
– Project charter
– กลุ่มงาน Six Sigma
– Problem Statement, Baseline, Entitlement
– ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงงาน Six Sigma
M-Measure
– Process mapping
– การระบุสาเหตุแหล่งผันแปร
– แผนภาพก้างปลา
– C&E Matrix
– FMEA สำหรับ Six Sigma
– การวิเคราะห์ระบบวัดสำหรับข้อมูลแบบผันแปร
– การวิเคราะห์ระบบวัดสำหรับข้อมูลแบบแอทตริบิว
– การวิเคราะห์ความสามารถกระบวนการสำหรับข้อมูลแบบผันแปร
– การวิเคราะห์ความสามารถกระบวนการสำหรับข้อมูลแบบแอทตริบิว
A-Analyze
– แนวคิดพื้นฐานด้านสถิติ
– การวิเคราะห์ Multi-Vari
– การประมาณค่าแบบจุดและการประมาณค่าแบบช่วง
– แนวคิดด้านการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
– การทดสอบค่ากลางของ 2 กลุ่มตัวอย่าง (2 sample t test)
– การทดสอบค่ากลางด้วยการวิเคราะห์ความผันแปร (ANOVA)
– การทดสอบสัดส่วนของเสียของ 2 กลุ่มตัวอย่าง
– การทดสอบสัดส่วนของเสียสำหรับ 2 กลุ่มตัวอย่างขึ้นไป
– Simple Linear Regressing analysis
– Correlation analysis
I-Improve
– ตัวแบบปัญหาเรื้อรังและแนวคิดของมาตรการตอบโต้
– หลักการพื้นฐานของการออกแบบการทดลอง (DOE)
– General Full Factorial Design
– General Full Factorial Design (ต่อ)
– 2^k Factorial Design
– WHY-WHY Analysis
C-Control
– หลักการพื้นฐานของ Statistical Process Control (SPC)
– Out-of-Control Action Plan (OCAP) สำหรับการใช้งาน SPC
– Control chart สำหรับข้อมูลแบบ Variable
– Control chart สำหรับข้อมูลแบบแอทตริบิว
– Human error และการจัดการด้วยเทคนิคป้องกันความผิดพลาด
– กิจกรรม 5 ส. สำหรับการควบคุมกระบวนการ
– การควบคุมด้วยสายตา
– แผนการควบคุมกระบวนการสำหรับการทำให้เป็นมาตรฐาน
– นำเสนอผลงานกลุ่ม
– Q&A

รูปแบบการอบรม
– บรรยาย 30% Workshop 70%

Total Page Visits: 1039 - Today Page Visits: 1